บริการรถรับส่งผ่านแอป หรือ e-hailing กำลังได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นในหมู่คนไทย ผู้คนจำนวนมากเลือกใช้บริการดังกล่าวเพื่อความสะดวกสบายในการเดินทาง ทั้งในชีวิตประจำวันและในโอกาสพิเศษ โดยถือเป็นตัวเลือกที่ตอบโจทย์ผู้คนยุคใหม่ในหลาย ๆ แง่มุม ทีมวิจัยของแอปเรียกรถ Maxim ได้ทำการศึกษาพฤติกรรมการใช้งานในปี 2024 โดยเปิดเผยสถิติเกี่ยวกับความถี่ในการใช้บริการ ประเภทรถที่ได้รับความนิยม และค่าใช้จ่ายโดยประมาณของผู้ใช้
จากข้อมูลพบว่า 49% ของผู้ใช้เรียกใช้บริการสองครั้งต่อสัปดาห์ ขณะที่ 39% ใช้บริการสัปดาห์ละหนึ่งครั้ง และ 10% ใช้บริการสามถึงหกครั้งต่อสัปดาห์ โดยส่วนใหญ่จะเดินทางจากพื้นที่สาธารณะ สถานีขนส่ง และสถานที่ทำงานไปยังที่อยู่อาศัย และเป็นการเรียกใช้แบบกระจายตัวทั่วพื้นที่ที่ให้บริการ
ในด้านตัวเลือกการบริการ รถยนต์เป็นตัวเลือกที่นิยมมากที่สุด คิดเป็น 53% ของทั้งหมด เนื่องด้วยความสะดวกสบาย ขณะที่จักรยานยนต์มีสัดส่วนเป็น 41% เนื่องจากความรวดเร็วที่เหมาะสำหรับการเดินทางระยะสั้นในเมือง ส่วนอีก 5% เป็นบริการอื่น ๆ
ข้อมูลจาก Maxim ยังชี้ให้เห็นอีกว่า พฤติกรรมการใช้จ่ายในการเดินทางรายสัปดาห์ของผู้ใช้อยู่ในระดับที่ต่ำ เมื่อเทียบกับรายได้โดยเฉลี่ย จากข้อมูลพบว่า 59% ใช้จ่ายสูงสุด 50 บาทต่อสัปดาห์ 36% ใช้จ่ายไม่เกิน 250 บาท และเพียง 13% ใช้จ่ายเกินกว่าจำนวนนั้น คิดเป็นค่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 108 บาทต่อสัปดาห์ ซึ่งเมื่อเทียบกับรายได้เฉลี่ยของพนักงานออฟฟิศที่ 25,000 บาท การใช้บริการนี้คิดเป็นเพียงประมาณ 1.7% ของรายได้ ทำให้บริการเรียกรถผ่านแอปเป็นตัวเลือกที่เหมาะสำหรับการเดินทางประจำวัน
นอกเหนือจากความคุ้มค่าแล้ว บริการรถรับส่งผ่านแอปยังส่งผลต่อบริบทการคมนาคมที่เปลี่ยนแปลงไปในสังคมไทย โดยเฉพาะในเมืองที่การจราจรหนาแน่นอย่าง กรุงเทพฯ โดยแพลตฟอร์มเหล่านี้เป็นทางเลือกที่สะดวกสะบายเมื่อเทียบกับการครอบครองรถยนต์ส่วนตัว อีกทั้งยังช่วยบรรเทาการจราจรติดขัดและลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ทำให้การเดินทางในเมืองมีความคล่องตัวและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น
“เราใช้บริการเรียกรถผ่านแอปประมาณสามถึงหกครั้งต่อสัปดาห์ ส่วนใหญ่เป็นการเดินทางระหว่างที่ทำงานกับบ้าน เพราะสะดวก ช่วยประหยัดเวลาในการหาที่จอดรถ และไม่ต้องเจอกับรถติด ทำให้มีเวลาพักผ่อนเพิ่มขึ้น”
“ข้อมูลดังกล่าวสะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงในวิถีการเดินทางของผู้คนในปัจจุบัน ผู้ใช้จำนวนมากลือกใช้แอป Maxim ในการเดินทางประจำวัน เราเองก็มีการพัฒนา ปรับปรุงบริการของเราอย่างต่อเนื่องเพื่อรองรับความต้องการของผู้ใช้งาน และไม่มองข้ามปัญหาต่าง ๆ อย่าง เรื่องรถติดและการปล่อยมลพิษ” นายพงศ์พัฒน์ อักษราวรกานต์ ผู้บริหารแอปพลิเคชัน Maxim ประเทศไทย กล่าว “และเราไม่ได้มุ่งพัฒนาบริการแค่ในเมืองใหญ่เท่านั้น แต่เรายังให้ความสำคัญกับเมืองรองที่การขนส่งสาธารณะมีจำกัด” คุณกิตติยา รัตนสุนทรากร ผู้ใช้ Maxim ในกรุงเทพฯ กล่าวเสริม

Maxim Ride-hailing Analysis: How Often Users Order E-hailing In A Week
E-hailing services are becoming increasingly popular among Thais, with more people relying on them for daily commutes and errands. As urban mobility evolves, Maxim’s analytics team examined user habits in 2024, revealing key insights into ride frequency, preferred services, and spending patterns.
According to the data, 49% of active users book rides twice a week, while 39% use the service once a week. Meanwhile, 10% book between three to six rides weekly, and a small but dedicated 1% use Maxim more than seven times a week. Most rides originate from public spaces, transportation hubs, and workplaces, heading toward residential areas. Regular users often commute across various parts of the city.
Among service options, the car service is used for 53% of rides, making it the most popular, due to their comfort. Motorbikes make up 41% of trips because their speed and flexibility make them suited for short journeys in cities. While the remaining 5% consists of other services.
Maxim underlines affordability, with most users keeping their weekly ride expenses low. According to the data, 59% spend up to 50 THB per week, 36% spend up to 250 THB, and only 13% exceed that amount. On average, users spend approximately 108 THB per week. These figures indicate that the service generally fits within modest weekly transportation budgets. For office workers with an average salary of 25,000 THB, this spending accounts for about 1.7% of their income, making it a practical choice for daily commutes.
Beyond affordability, e-hailing services are transforming urban mobility in Thailand. In congested cities like Bangkok, these platforms provide a practical alternative to private car ownership, easing traffic flow and lowering emissions.
“I use Maxim about three to six times a week, mainly for commuting between work and home. It’s convenient and saves me the trouble of parking. It also helps me avoid traffic and gives me more time to relax or get ready for the next day,” said Kitiya Ratanasuntarakorn, a Maxim user in Bangkok.
“The data shows a shift in urban mobility, with many users relying on Maxim for their daily commutes. We are continuously refining our services to meet modern consumer needs while also addressing issues like traffic congestion and carbon emissions.” said Mr. Pongpath Aksaraworakarn, Executive of Maxim Thailand. “But it’s not just about the big cities, we’re also paying special attention to smaller cities where public transportation is limited, and we’re doing our part to make a difference” He added.